คำถามท้ายบทที่
6
1.อินเทอร์เน็ต
หมายความว่าอย่างไร
ตอบ
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายเฉพาะส่วนขององค์การ
หรือหน่วยงาน ที่นำซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์แบบอินเทอร์เน็ตมาประยุกต์ใช้
อินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่าย
เพื่อระบบงานภายในโดยมุ่งเน้นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อบริการแก่บุคลากร
เครือข่ายอินทราเน็ต จะต่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตด้วยหรือไม่นั้นไม่ใช่สิ่งสำคัญ
แต่แนวคิดหลักของอินทราเน็ต คือ
การสร้างเครือข่ายในองค์การโดยมีคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นอินเทอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์เพื่อให้บริการข้อมูลในรูปแบบเดียวกับที่ใช้งานในอินเทอร์เน็ต
และขยายเทอร์มินัลเครือข่ายไปยังทุกแผนก ให้บุคลากรสามารถค้นข้อมูลและสื่อสารถึงกันได้
เซิร์ฟเวอร์หลักภายในอินเทอร์เน็ต คือ เว็บเซิร์ฟเวอร์
ซึ่งใช้เป็นศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารระบบ WWW ให้บริการข้อมูลได้ทั้งข้อความเสียง
ภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวผ่านทางโปรแกรม Browser ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งานโปรแกรม
Browser
ส่วนใหญ่ได้ผนวกบริการหลักของอินเทอร์เน็ตไว้ในตัว
เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การถ่ายโอนย้ายแฟ้ม (FTP)
หรือกระดานข่าย
(Use
Net )
2.จงอธิบายความสำคัญของอินเทอรเน็ตทางด้านการศึกษา
ตอบ
อินเทอร์เน็ตทำให้ผู้เรียนมีโอกาสได้รับความรู้ใหม่ ได้เรียนรู้วัฒนธรรมที่หลากหลาย
เรียนรู้ประสบการณ์จากสภาพความเป็นจริงของโลกปัจจุบัน
เกิดทักษะความคิดขั้นสูงและเป็นการช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนรวมถึงเป็นการฝึกให้เกิดทักษะการเขียนด้วยเหตุผลสนับสนุนดังต่อไปนี้
1
การศึกษาวัฒนธรรมที่หลากหลาย
2
เรียนรู้ประสบการณ์จากสภาพที่เป็นจริง
3
การเพิ่มทักษะการคิดอย่างมีระบบ
4
สร้างแรงจูงใจให้มีทักษะในการเขียน
3.จงบอกประโชยน์ของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตอบ
-อินเตอร์เน็ต สามารถทำให้ให้เราค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
และได้ข้อมูลที่มีการอัพเด็ต มีความทันสมัย
เราใช้อินเตอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสาร
ในการอ่านข่าว และใช้ในการเรียนรู้ข้อมูลอื่นๆๆ ที่มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก
-สามาถนำมาใช้ค้นคว้าหาข้อมูล
เพื่อการเรียนได้ง่ายขึ่น หรืออ่านข่าวสาร และทำธุกิจได้หลายอย่าง
เพื่อความสะดวกรวดเร็ว เช่น การส่ง e-mail แทนการส่งจดหมาย และทำให้เรารู้อะรได้มากมายบนโลกของเรา
4.การติดต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ผ่านอุปกรณ์ Modem
หมายความว่าอย่างไร
ตอบ ย่อมาจากคำ modulator
- demodulator หมายถึง
อุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อการสื่อสารติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในระยะไกลโดยผ่านทางสายโทรศัพท์
เป็นตัวกล้ำและแยกสัญญาณแอนะล็อก (analog) และดิจิทัล (digital)
ความเร็วในการทำงานของโมเด็มมีตั้งแต่
1,200, 2,400,
9,600
และ 14,400 การจะใช้โมเด็มนั้น ต้องใช้ซอฟต์แวร์ร่วมด้วย
การรับข้อมูลจากระบบเครือข่ายก็ต้องมีโมเด็ม
โมเด็มนั้นอาจจะทำติดมาอยู่ภายในตัวเครื่อง หรือนำมาติดเพิ่มภายหลังก็ได้
5.ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www
มีประโชยน์อย่างไร
ตอบ 1.
สามารถแชร์ข้อมูลใช้ร่วมกันได้
ข้อมูลต่างๆในแต่ละเครื่องภายในระบบ
หากมีผู้อื่นต้องการใช้
คุณสามารถแชร์ให้ผู้อื่นนำไปใช้ได้
หรือข้อมูลที่เป็นส่วนรวมก็สามารถแชร์ไว้เพื่อให้หลายๆฝ่ายนำไปใช้งานได้
ซึ่งก็จะช่วยทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บและช่วยให้การปรับปรุงข้อมูลในระบบง่ายขึ้นและไม่เกิดความขัดแย้งของข้อมูลด้วย
เพราะข้อมูลมีอยู่ชุดเดียว
2.
สามารถแชร์อุปกรณ์ต่างๆร่วมกันได้
เช่น เครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ ซิปไดร์ฟ
เป็นต้น
โดยที่ไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เหล่านั้นมาติดตั้งกับทุกๆเครื่อง เช่นในบ้านคุณมีเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด 4
เครื่อง
อาจจะซื้อเครื่องพิมพ์มาเพียงตัวเดียวและแชร์เครื่องพิมพ์นั้นเพื่อใช้ร่วมกันได้
3.
สามารถใช้โปรแกรมร่วมกันหลายๆเครื่องได้
เช่น ในห้อง LAB คอมพิวเตอร์ที่มีจำนวน
คอมพิวเตอร์ที่มีจำนวนเครื่องในระบบจำนวน
30 เครื่อง
คุณสามารถซื้อโปรแกรมเพียงแค่ 1 ชุดและสามารถใช้งานร่วมกันได้ ซึ่งจะทำให้สะดวกในการดูแลรักษาด้วย
4.
การสื่อสารในระบบเครือข่ายผู้ใช้สามารถเชื่อมกับเครื่องอื่นๆในระบบได้ เช่น
อาจจะส่งข้อความจากเครื่องของคุณไปยังเครื่องของคนอื่นๆได้ นอกจากนี้คุณยังสามารถใช้ E
- Mail ส่งข้อความข่าวสารต่างๆภายในสำนักงานได้อีก เช่น
แจ้งกำหนดการต่างๆแจ้งข้อมูลต่างๆให้ทุกๆคนทราบ โดยไม่ต้องพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เพื่อแจกจ่าย ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้อีกทางหนึ่ง
5.
การแชร์อินเทอร์เน็ต
ภายในระบบเครือข่ายคุณสามารถแชร์อินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ร่วมกันได้ โดยที่คุณไม่จำเป้นต้องซื้อ Internet Account สำหรับทุกๆเครื่องและไม่จำเป็นต้องติดตั้งโมเด็มทุกเครื่อง ซึ่งก็จะช่วยให้คุณประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก
6. เพื่อการเรียนรู้
การที่คุณได้ทดลองใช้งานระบบเครือข่ายจะทำให้คุณสามารถเรียนรู้และคุ้นเคยกับระบบเครือข่ายมากขึ้น
ทำให้คุณมีประสบการณ์ในระบบเครือข่ายมากขึ้นและจะทำให้คุณรู้สึกว่ามันไม่ใช่เรื่องยากเลย
6.จงยกตัวอย่างประโชยน์ของ E-mail
ตอบ
1. มีความสะดวกรวดเร็ว
2. ประหยัดค่าใช้จ่าย
3. ไม่จำกัดระยะทาง
4. ไม่จำกัดรูปแบบของข้อมูล
5.
ถ้าเราจะส่งอีเมล์ไม่ว่าจะตอนไหนก็ส่งได้ทุกเวลา
6.
ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างหลากหลาย
คำถามท้ายบทที่
7
1.จงอธิบายเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ ว่ามีกี่ประเภท
ตอบ ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายสามารถจำแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่เกณฑ์ที่ใช้ เช่น ขนาด ลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น โดยทั่วไปการจำแนกประเภทของเครือข่ายมีอยู่
3 วิธีคือ
1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถิ่น
2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง
3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง
2.อินทราเน็ต หมายความว่าอย่างไร
ตอบ อินทราเน็ต
(intranet) คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในองค์กร ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
ในการใช้งานอินทราเน็ตจะต้องใช้โพรโทคอล
IP เหมือนกับอินเทอร์เน็ต สามารถมีเว็บไซต์และใช้เว็บเบราว์เซอร์ได้เช่นกัน รวมถึงอีเมล ถ้าเราเชื่อมต่ออินทราเน็ตของเรากับอินเทอร์เน็ต เราก็สามารถใช้ได้ทั้ง
อินเทอร์เน็ต และ อินทราเน็ต ไปพร้อม ๆ กัน แต่ในการใช้งานนั้นจะแตกต่างกันด้านความเร็ว ในการโหลดไฟล์ใหญ่ ๆ จากเว็บไซต์ในอินทราเน็ต
จะรวดเร็วกว่าการโหลดจากอินเทอร์เน็ตมาก ดังนั้นประโยชน์ที่จะได้รับจากอินทราเน็ต สำหรับองค์กรหนึ่ง คือ สามารถใช้ความสามารถต่าง
ๆ ที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
3.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลการสืบค้นบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ตอบ 1. ที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ต้องการค้น ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เราสามารถติดต่อได้กับคนทั่วโลกอย่างไม่มีขอบ เขต สามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศต่าง ๆ ข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับก็มีอยู่มากมาย
ซึ่งผู้ใช้ข้อมูลจำเป็นต้องเรียนรู้การเลือกข้อมูล ให้ได้ตรงกับความต้องการ
ดังนั้น ผู้ใช้ข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตจึงจำเป็นต้องทราบที่อยู่ของผู้ให้ บริการข้อมูล นั่นก็คือ ทราบ Url หรือ
Address ของผู้ให้บริการข้อมูลนั่นเอง
2. รู้จักวิธีการค้นข้อมูล
3. รู้จักวิธีการอ่านผลการสืบค้น หลัง จากที่ได้เริ่มต้นทำการพิมพ์คำที่ต้องการค้นหา หรือ เลือกรายการหมวดหมู่เมนูการค้น ผู้ค้นข้อมูลจะต้องติดตามผลการค้นจนกว่าจะได้ข้อมูลครบตามที่ต้องการ สำหรับ ผู้ให้บริการค้นข้อมูลก็จะต้องอำนวยความสะดวก ทั้งการจัดทำหน้าจอสำหรับการ
สืบค้น และการจัดลำดับหัวข้อเรื่องให้กับผู้ใช้บริการด้วย
4. รู้จักวิธีการจัดเก็บผลการสืบค้น
5. รู้วิธีการเผยแพร่การสืบค้น
4.จงอธิบายวิธีการสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์
Google พอสังเขป
ตอบ กาารสืบค้นข้อมูลด้วย Search Engine
เสิร์ชเอนจิน
(search engine) หรือ โปรแกรมค้นหาและคือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล
โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ
รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญ
(คีย์เวิร์ด)
ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการขึ้นมา ในปัจจุบัน เสิร์ชเอนจินบางตัว เช่น กูเกิลจะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น
มาช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป
ตัวอย่าง
Web Search Engine
การสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูลด้วย
Search Engine
ขั้นตอนการสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูลด้วย
Search Engine
2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “เว็บ”
3. พิมพ์
keyword (ข้อความ)
ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง
text box
4. กดที่ปุ่ม
“ค้นหา”
5. ระบบจะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่ตรงกับ
keyword ที่ต้องการ และแสดงออกมาในรูปแบบของลิ้งค์พร้อมคำอธิบายประกอบ
5.Digital library
หมายความว่าอย่างไร
ตอบ ห้องสมุดดิจิตอล
6.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ประเภทของการศึกษา
เว็บไซต์เพื่อการศึกษา สำหรับเผยแพร่หลักสูตรท้องถิ่น
เรื่อง สวนสวยด้วยสองมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สื่อการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผลงานครู ผลงานนักเรียน และเนื้อหา
คำถามท้ายบทที่ 8
1.ให้หาบทความเกี่ยวกับการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ
ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจมีมาก ธุรกิจต่างๆ
จำเป็นต้องพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการขายและภาพลักษณ์บริษัทให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
โดยการนำเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่างๆ เข้ามาใช้ในกิจการ
เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการดำเนินธุรกิจ ซึ่งปัจจุบันเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
(Internet) ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วทุกมุมโลกและสามารถเข้าถึงได้รวดเร็ว
ทุกเวลาส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เป็นที่นิยมและได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐบาลและเอกชน
ในการนำมาใช้พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการขายของกิจการ คือ อีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) หรือเรียกเป็นภาษาไทยว่า “พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์” เป็นการจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพาณิชย์
โดยการขายสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ (Website)ง ซึ่งการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้จะก่อให้เกิด การลดต้นทุน
ลดเวลาหรือค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เพิ่มช่องทางการตลาดและเพิ่มโอกาสทางธุรกิจรูปแบบของการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในการทำการค้านั้นต้องประกอบด้วยอย่างน้อย
2 ฝ่ายก็คือผู้ซื้อและผู้ขาย
ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายนั้น ก็มีหลายๆรูปแบบ
ทำให้เราสามารถจัดประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ออกเป็นประเภทหลักๆ ดังนี้ผู้ประกอบการ กับ ผู้บริโภค (Business to
Consumer - B2C) คือการค้าระหว่างผู้ค้าโดยตรงถึงลูกค้าซึ่งก็คือผู้บริโภค
เช่น การขายหนังสือ ขายวีดีโอ ขายซีดีเพลงเป็นต้นผู้ประกอบการ กับ ผู้ประกอบการ (Business to
Business – B2B) คือการค้าระหว่างผู้ค้ากับลูกค้าเช่นกัน
แต่ในที่นี้ลูกค้าจะเป็นในรูปแบบของผู้ประกอบการ ในที่นี้จะรอบคลุมถึงเรื่อง
การขายส่ง การทำการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain
Management) เป็นต้น
ซึ่งจะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆกันไปผู้บริโภค กับ ผู้บริโภค (Consumer to
Consumer - C2C) ในเรื่องการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภคนั้น
มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร
ในกลุ่มคนที่มีการบริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทำการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง
ขายของมือสองเป็นต้น ผู้ประกอบการ กับ ภาครัฐ (Business to
Government – B2G) คือ
การประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ
ที่ใช้กันมากก็คือเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ หรือที่เรียกว่า e-Government
Procurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว
รัฐบาลจะทำการซื้อ/จัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย
เช่นการประกาศจัดจ้างของภาครัฐในเว็บไซต์ www.mahadthai.com หรือการใช้งานระบบอีดีไอในพีธีการศุลกากรของกรมศุลฯ www.customs.go.thภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to
Consumer -G2C) ในที่นี้คงไม่ใช่วัตถุประสงค์เพื่อการค้า
แต่จะเป็นเรื่องการบริการของภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลายหน่วยงาน
เช่นการคำนวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต, การให้บริการข้อมูลประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
เช่นข้อมูลการติดต่อการทำทะเบียนต่างๆของกระทรวงมหาดไทย
ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐานอะไรบ้างในการทำเรื่องนั้นๆ
และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบนเว็บไซต์ได้ด้วย
จากการที่แบ่งประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ออกเป็นประเภทตามข้างบนนั้น
ดังนั้นทำให้สามารถจัดประเภทของช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างสองฝ่าย ออกได้เป็น 3 ช่องทางคือ
1. การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล
ในที่นี้บุคคลจะหมายถึงทั้งองค์กร บริษัท และตัวบุคคล
การติดต่อนั้นทำผ่านได้ทั้ง
รูปแบบของโทรศัพท์ โทรสาร และอีเมล์
2. การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลกับระบบคอมพิวเตอร์
และระหว่างระบบคอมพิวเตอร์กับบุคคล
คือการใช้งานระบบอัตโนมัติในการติดต่อสื่อสารนั่นเอง เช่น ตู้ ATM ระบบโทรศัพท์อัตโนมัติ ระบบ FAX Back ระบบส่งอีเมล์อัตโนมัติ เป็นต้น
ทั้งนี้เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าเป็นสำคัญ
3. การติดต่อระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ด้วยกันเอง
เป็นรูปแบบที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
ในการติดต่อทางธุรกิจ
โดยการให้ระบบคอมพิวเตอร์ของทั้งสองฝ่ายทำการติดต่อสื่อสาร
แลกเปลี่ยนข้อมูลโดยอัตโนมัติ ตามข้อกำหนดที่ได้ทำการตกลงร่วมกันไว้ อาทิ อีดีไอ
ระบบการจัดการห่วงโซ่การผลิต เป็นต้น
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สรุปจากที่ผ่านมานั้นจะพบว่าจะมีข้อที่เป็นประโยชน์ร่วมกันของทั้งผู้ซื้อ
ผู้ขาย ผู้ผลิตอยู่ 3 ประเด็นคือ ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดค่าใช้จ่ายบุคลากรบางส่วน
ลดขั้นตอนการประกอบธุรกิจ
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อแบบเดิมๆไม่มีข้อจำกัดด้านสถานที่
สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลก
(หมายความว่าต้องสร้างเว็บไซต์ให้มีข้อมูลเป็นภาษาสากลหรือภาษาที่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของเราใช้มากๆ
เช่นภาษาจีน ญี่ปุ่น เป็นต้น)ไม่มีข้อจำกัด้านเวลา สามารถทำการค้าได้ 24 ชั่วโมง 7 วัน ผ่านระบบอัตโนมัติประโยชน์สำหรับผู้ซื้อ/ผู้บริโภคหาข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบเรื่องราคา
คุณภาพสินค้าและข้อมูลอื่นๆเพื่อประกอบการตัดสินใจซื้ออินเทอร์เน็ตมีประโยชน์มากในเรื่องนี้
สามารถเข้าไปในเว็บบอร์ดต่างในการหาข้อมูลได้ง่ายมีร้านค้าให้เลือกมากขึ้น
พียงแค่พิมพ์คีย์เวิร์ดลงในเครื่องมือค้นหาก็มีสินค้าออกมาให้เลือกมากมายได้รับสินค้าอย่างรวดเร็ว
ในกรณีที่ซื้อสินค้าที่จับต้องไม่ได้
เพราะสามารถได้รับสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้เลยสินค้าบางอย่างสามารถลดพ่อค้าคนกลางได้
ทำให้ได้ราคาที่ถูกลง
คงไม่ใช่กับทุกสินค้าหรือทุกผู้ผลิตที่มีความต้องการมาทำการขายเอง อาจจะได้กับสินค้าบางชนิดลดความผิดพลาดในการสื่อสาร
จากเดิมที่ในการค้าต้องส่งแฟกซ์ หรือบางทีบอกจดทางโทรศัพท์
รับใบคำสั่งซื้อแล้วมาคีย์เข้าระบบ ถ้าสามารถทำการติดต่อกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ส่งข้อมูลกันได้เลยจะช่วยลดความผิดพลาดในส่วนนี้ไปได้ ลดเวลาในการผลิต นำเอาเทคโนโลยีมาช่วยในการคำนวณเรื่องความต้องการวัตถุดิบ
การทำคำสั่งซื้อวัตถุดิบเพิ่มประสิทธิภาพในระบบสำนักงานส่วนหลังเปิดตลาดใหม่
หาคู่ค้า
ซัพพลายเออร์รายใหม่เพิ่ประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังเพิ่มความสัมพันธ์กับคู่ค้าให้ดีขึ้นสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเว็บไซต์ของบริษัท
โดยการสร้างข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อลูกค้า
การให้บริการหลังการขายให้คำปรึกษาเรื่องผลิตภัณฑ์
หรือการแก้ไขเบื้องต้นอย่างรวดเร็ว
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น